Fran

มุมมองที่อาจทำให้คุณเสียโอกาสทางการเงินแบบน่าเสียดาย

มนุษย์ มาพร้อมกับอารมณ์และความรู้สึก ทั้งความกลัว โลภ หรือตื่นเต้น และเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เราตัดสินใจลงทุนโดยมองข้ามเหตุผล ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่ออนาคตทางการเงินของเราได้ คนเล่นพนันออนไลน์ บาคาร่า สล็อต77 ทุกวันยังพบเจอความเครียด ความสุข แล้วคนลงทุนด้านอื่นจะต้องเจออะไรบ้าง

1. Home Country Bias
อคติแบบ Home Country Bias หรือการที่นักลงทุนมักมีสัดส่วนการลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในประเทศของตน ยกตัวอย่างเช่น หุ้นสหรัฐคิดเป็นสัดส่วนไม่ถึง 50% ของมูลค่ารวมของตลาดหุ้นโลก แต่โดยเฉลี่ยแล้วนักลงทุนสหรัฐจะถือหุ้นสหรัฐสัดส่วนราว 70% ของพอร์ต สาเหตุที่คนส่วนใหญ่มีอคติในเรื่องนี้มาจากหลักจิตวิทยาขั้นพื้นฐานที่ว่า เรามีแนวโน้มที่จะลงทุนในสิ่งที่เราคุ้นเคยมากกว่าสิ่งที่ไม่รู้จัก ซึ่งสิ่งที่เราคุ้นเคยมักจะอยู่ในประเทศ

2. Home Currency Bias
“คุณควรมีเงินทุนในสกุลเงินที่เป็น Safe-haven มากเพียงพอในพอร์ต เพราะนี่จะเป็นเหมือนเกราะปกป้องพอร์ตเมื่อเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ” อคติข้อนี้คล้ายกับข้อแรก โดย Home Currency Bias หมายถึง พฤติกรรมของนักลงทุนที่มีแนวโน้มถือครองสินทรัพย์ในสกุลเงินของประเทศตนเองในสัดส่วนที่มากกว่าสกุลเงินอื่นๆ เพราะมองว่าค่าเงินต่างประเทศเปลี่ยนแปลงขึ้นลงเสมอ จึงมองเป็นปัจจัยเสี่ยง

3. Loss Aversion Bias
เป็นปกติที่คนเรามักจะเกิดความรู้สึกกับการติดลบมากกว่าตอนที่ทำกำไรได้ อีกนัยหนึ่งอาจพูดได้ว่า วิวัฒนาการของมนุษย์ทำให้เราตอบสนองกับเหตุการณ์ในแง่ลบเร็วกว่าแง่บวก ในด้านการลงทุน Loss Aversion Bias คือ พฤติกรรมมนุษย์ที่มัก ‘หลีกเลี่ยงการสูญเสีย’ เพราะเราจะเจ็บปวดกับการขาดทุนมากกว่าความสุขเมื่อได้กำไร แม้จะเป็นจำนวนเงินที่เท่ากัน ซึ่งอาจทำให้นักลงทุนเลือกความเสี่ยงที่ระดับต่ำกว่าที่ตนเองรับได้จริง หรืออาจเลือกการไม่เสี่ยงเลย

4. Sunk Cost Fallacy
เคยไหม? ที่ต้องเดินทางด้วยความรู้สึกไม่อยากไปเพียงเพราะคุณจ่ายเงินไปแล้ว พฤติกรรมแบบนี้เกิดจากความรู้สึกยึดติด ซึ่งเราเรียกพฤติกรรมนี้ว่า Sunk Cost Fallacy หรือที่คุณอาจเคยได้ยินคำว่า ‘ต้นทุนจม’ ซึ่งเป็นความรู้สึกเสียดายหรือยึดติดกับสิ่งที่ลงทุนลงแรงไว้แล้วนั่นเอง ในด้านการลงทุน คุณอาจรู้สึกยึดติดกับสินทรัพย์บางประเภทเป็นพิเศษ แม้ว่าสินทรัพย์นั้นจะไม่ตอบโจทย์การลงทุนของคุณอีกต่อไป ยกตัวอย่างเช่น คุณเคยใช้เวลาหาข้อมูลและวิเคราะห์บริษัทหนึ่งจนรู้สึกว่าบริษัทนี้น่าลงทุน หรือ คุณรู้สึกผูกพันกับบริษัทหนึ่งเป็นพิเศษ เพราะบริษัทนั้นกำลังพัฒนาเทคโนโลยีที่คุณเชื่อมั่นและอยากสนับสนุน แต่ปัจจุบันบริษัทนั้นๆ อาจไม่ได้เหมาะกับแผนการลงทุนของคุณแล้ว